วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

นักเรียนมีหลักปฎิบัติในการใช้อินเทอร์อย่างไรให้เกินประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและไม่ให้เกิดผลกระทบต่อผู้อื้นและสังคม
1)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น 2)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนทำงานผู้อื่น 3)ไม่เปิดดูข้อมูลในแฟ้มของผุ้อื่นโดยไม่รับอนุญาต 4)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ 6)ไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต 7)ไม่ระเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ 8)ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9)คำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันเป็นผลมาจากการกระทำของตน 10)ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาทของสังคม

คำถามประจำหน่วย โดย นาย ฉัตรชัย วงศ์ตะนา ม.5/6 เลขที่ 12

ข้าพเจ้ามีหลักปฎิบัติในการใช้อินเตอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเอง และ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อผู้อื่นและสังคม ดังนี้

ตอบ...
1)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนทำงานผู้อื่น
3)ไม่เปิดดูข้อมูลในแฟ้มของผุ้อื่นโดยไม่รับอนุญาต
4)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5)ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6)ไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาต
7)ไม่ระเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8)ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9)คำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันเป็นผลมาจากการกระทำของตน
10)ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาทของสังคม

อินเตอร์เน็ต

อินเตอร์เน็ต
 2.1. ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต 
 อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคำว่า interconnection network หมายถึง การใช้ประโยชน์ของระบบเครือข่ายที่นำเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมาเชื่อต่อกันโดยผ่านสื่อกลางชนิดใดชนิดหนึ่ง 
 2.2. บริการบนอินเทอร์เน็ต
 1) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล ( electronic mail or e-mail) เนื่องจากในระบบเครือข่ายอิเทอร์เน็ตนั้นมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกัน ทำให้การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกันสามารถทำได้ง่าย 
 2) เมลลิงลิสต์ (mailing list) เป็นเสมือนเครื่องมือที่ใช้กระจายข่าวสารและข้อมูลเฉพาะกลุ่ม ซึ่งปกติจะเป้นกลุ่มที่มีความสนใจในสิ่งเดียวกัน การสมัครทำได้โดยส่งอีเมลแอดเดรสแจ้งความจำนงไปที่เจ้าของกลุ่ม
 3) การสื่อสารในเวลาจริง (realtime communication ) เป็นการสื่อสารกันที่สามารถโต้กลับได้ทันทีผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถส่งเป็นข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง โดยผู้ใช้ทั้งผุ้รับส่งจะต้องเข้าใช้ระบบอินเทอร์เน็ตในเวลาเดียวกัน การสื่อสารในเวลาจริง
 4) เว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม (social networking web site ) เป็นชุมชนออนไลน์ที่กลุ่มคนรวมกันเป็นสังคม มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน มีการทำกิจกรรมร่วมกันบนอินเทอรืเน็ต
 5) บล็อก ( blog )  ย่อมาจากคำว่า เว็บบล๊อก ( webblog ) เป็นเว็บไซต์ที่ใช้เขียนบันทึกเรื่องราว เพื่อสื่อสารความรู้สึก มุมมอง ประสบการณ์ ความรู้ และข่าวสาร ซึ่งอาจเรียกว่า ไดอารี ออนไลน์ ( diary online) โดยจะแสดงข้อความที่เขียนล่าสุดไว้ส่วนบนของเว็บไซต์
 6) วิกิ (wiki ) เป็นรูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลที่บุคคลต่างๆ ที่มีความรู้ในแต่ละเรื่องมาให้ข้อมูล หรือปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้ถูกต้องและสมบรูณ์ยิ่งขึ้น โดยข้อมูลที่เผยแพร่นั้นจะเป้รประโยชน์ต่อบุคคลทั่วไป
 7) บริการเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกล ( remote login / telnet ) บริการนี้อนุญาติให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปทำงานต่างๆ ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งผ่านทางคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่เชื่อมต่ออยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
 8) การโอนย้ายข้อมูล ( file transfer protocol : FTP ) เป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งอาจจะอยู่ใกล้หรือไกลกัน 
 9) บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร หรือยูสเน็ต (usenet) เป็นอีกบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีลักษณะเป็นกลุ่มสนทนา เพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งคล้ายคลึงกับการเปิดเวทีสาธารณะให้ผู้คนทั่วโลกแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
 10) เวิลด์ไวด์เว็บ (world wide web ) เป็นการให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (hypertext) ซึ่งเป็นวิธีการที่จะเชื่อมโยงข้อมูลจากเอกสารหนึ่งไปข้อมูลของอีกเอกสารหนึ่ง ทำให้การค้นหาครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการมากยิ่งขึ้น 
 11) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( electronic commerce หรือ e-commerce ) เป็นการทำธุรกรรมซื้มขายสินค้าและบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยนำเสนอสินค้าและบริการทางเว็บไซต์ ทำให้ผู้ใช้บริการจากทั่วโลกสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง 
 2.3 คุณธรรมและจริยธรมมในการใช้อินเทอร์เน็ต 
 1) จรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ต ( netiquette ) 
   1.1) จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 
       - ตรวจสอบกล่องรับไปรษณีย์ทุกวัน
       - ลบข้อความหรือจดหมายที่ไม่ต้องการทิ้ง
       - โอนย้ายจดหมายจากระบบไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุลลค
       - พึงระลึกไว้เสมอว่าจดหมายที่เก็บไว้ในตู้จดหมายนี้อาจถูกผู้อื่นแอบอ่านได้
       - ไม่ควรจะส่งจดหมายกระจายไปยังผู้รับจำนวนมาก
  1.2) จรรยาบรรณสำหรับผู้สนทนาผ่านเครือข่าย 
       - ควรสนทนากับผู้ที่รู้จักและต้องการสนทนาด้วยเท่านั้น
       - ก่อนการเรียกคู่สนทนา ควรตรวจสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาก่อน
       - หลังจากเรียกคู่สนทนาไปแล้วชั่วขณะหนึ่งหากผุ้ที่เรียกไม่ตอบกลับแสดงว่าเขาอาจติดธุระสำคุญ
       -  ควรใช้วาจาที่สุภาพ ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
  1.3) จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้กระดานข่าวหรือกระดานสนทนา
       - เขียนเรื่องให้กระชับ ใช้ข้อความสั้น กะทัดรัดและตรงประเด็น
       - ไม่ควรเขียนข้อความพาดพิงถึงสถาบันของชาติในทางไม่สมควร
       - ให่ความสำคัญในเรื่องลิขสิทธิ์ ไม่ควรลัเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
       - ไม่ควรสร้างข้อความเท็จเพื่อหลอกลวงผู้อื่น
       - ไม่ควรใช่เครือข่ายส่วนรวมเพื่อประโยนช์ส่วนตัว 
   2) บัญญัติ 10 ประการในการใช้งานคอมพิวเตอร์
    มีดังนี้ 
     (1) ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
     (2) ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนการทำงานของผู้อื่น
     (3) ไม่เปิดดูข้อมูลในแฟ้มของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาติ
     (4) ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
     (5) ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
     (6) ไม่คิดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รักอนุญาติ
     (7) ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
     (8) ไม่นำเอาผลงานของผุ้อื่นมาเป็นของตน
     (9) คำนึงถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคมอันเป็นผลมาจากการกระทำของตน
    (10) ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาทของสังคม